สกุลเงินของไทย

งินบาท (ตัวละติน: Baht ; สัญลักษณ์: ฿ ; รหัสสากลตาม ISO 4217: THB) เป็นสกุลเงินตราประจำชาติของประเทศไทย เดิมคำว่า "บาท" เป็นหนึ่งในคำใช้เรียกหน่วยการชั่งน้ำหนักของไทย ปัจจุบันยังมีใช้ในความหมายเดิมอยู่บ้าง โดยเฉพาะในการซื้อขายทองคำ เช่น "ทองคำวันนี้ราคาขายบาทละ 15,000 บาท" หมายถึงทองคำหนักหนึ่งบาทสามารถขายได้ 15,000 บาท ในสมัยที่เริ่มใช้เหรียญครั้งแรก เงินเหรียญหนึ่งบาทนั้นเป็นเงินที่มีน้ำหนักหนึ่งบาทจริง ๆ ไม่ได้ทำด้วยทองแดงนิกเกิลเช่นในปัจจุบัน
เหรียญไทยนั้นผลิตออกมาโดยสำนักกษาปณ์ กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง โดยสามารถผลิตออกใช้ได้ไม่จำกัดจำนวนโดยไม่ต้องมีสิ่งใดมาค้ำประกัน เพราะโลหะที่ใช้ผลิตเหรียญกปาษณ์นั้นมีค่าในตัวเองอยู่แล้ว ส่วนธนบัตรนั้นผลิตและควบคุมการหมุนเวียนโดยธนาคารแห่งประเทศไทย การผลิตธนบัตรนำออกใช้จะมีหลักเกณฑ์วิธีที่เหมาะสมเพื่อให้เศรษฐกิจของชาติมีเสถียรภาพ
ตามข้อมูลของสมาคมโทรคมนาคมทางการเงินระหว่างธนาคารทั่วโลก (SWIFT) สกุลเงินบาทได้รับการอันดับเป็นสกุลเงินอันดับที่ 10 ของโลกที่ใช้ในการชำระเงินระหว่างประเทศ (most frequently used currencies in World Payments)[1]


หน่วยเงินมูลค่าหมายเหตุ
1 หาบ80 ชั่ง = 6,400 บาท
1 ชั่ง20 ตำลึง = 80 บาท
1 ตำลึง4 บาท
1 บาท1 บาท = 100 สตางค์
1 มายน หรือ 1 มะยง12 บาท = 50 สตางค์ปัจจุบันยังมีการเรียกเหรียญมูลค่านี้ว่า เหรียญสองสลึง
1 สลึง14 บาท = 25 สตางค์ปัจจุบันยังมีการเรียกเหรียญมูลค่านี้ว่า เหรียญสลึง
1 เฟื้อง18 บาท = 12.5 สตางค์
1 ซีก หรือ 1 สิ้ก116 บาท = 6.25 สตางค์
1 เสี้ยว 1 เซี่ยว หรือ 1 ไพ132 บาท = 3.125 สตางค์
1 อัฐ164 บาท = 1.5625 สตางค์
1 โสฬส หรือ โสฬศ1128 บาท = 0.78125 สตางค์
1 เบี้ย16400 บาท = 0.015625 สตางค์

เหรียญ[แก้]

เหรียญสตางค์โลหะผสม
ในปัจจุบันมีการผลิตเหรียญกษาปณ์อยู่ทั้งหมด 9 ชนิดคือ เหรียญ 1, 5, 10, 25 และ 50 สตางค์, 1, 2, 5 และ 10 บาท โดยเหรียญ 25 และ 50 สตางค์, 1, 2, 5 และ 10 บาท เป็นเหรียญที่ออกใช้หมุนเวียนทั่วไป ส่วนเหรียญ 1, 5 และ 10 สตางค์ ไม่ได้ออกใช้หมุนเวียนทั่วไป แต่ใช้ภายในธนาคารเท่านั้น
แต่ในปัจจุบันได้เกิดปัญหาราคาวัตถุดิบในการผลิตเหรียญสูงกว่าราคาเหรียญ ทำให้เกิดการลักลอบหลอมเหรียญไปขาย หรือบางครั้งก็เกิดปัญหาการใช้เหรียญผิด เพราะรูปร่างและสีของเหรียญบางชนิดนั้นคล้ายกัน (เช่น เหรียญ 1 บาท กับ เหรียญ 2 บาท แบบเก่า) ดังนั้น ใน พ.ศ. 2552 กระทรวงการคลัง ได้เปลี่ยนแปลงวัตถุดิบในการผลิตเหรียญบางชนิด เพื่อป้องกันการหลอมเหรียญ สร้างความแตกต่างของเหรียญ และลดความยุ่งยากในการใช้เหรียญเป็นดังนี้
การหมุนเวียนของเงินตรา (ไทย)
มูลค่าตัวแปรทางเทคนิคคำบรรยายปีที่ผลิตครั้งแรก
เส้นผ่าศูนย์กลางมวลองค์ประกอบด้านหน้าด้านหลัง
เหรียญ 1 สตางค์ 115 มิลลิเมตร0.5 กรัม97.5% Al, 2.5% Mgพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชวัดพระธาตุหริภุญชัยวรมหาวิหารจังหวัดลำพูนพ.ศ. 2530 (1987)
99% Aluminiumพ.ศ. 2551 (2008)
เหรียญ 5 สตางค์ 116 มิลลิเมตร0.6 กรัม97.5% Al, 2.5% Mgวัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหารจังหวัดนครปฐมพ.ศ. 2530 (1987)
16.5 มิลลิเมตร99% Alพ.ศ. 2551 (2008)
เหรียญ 10 สตางค์ 117.5 มิลลิเมตร0.8 กรัม97.5% Al, 2.5% Mgวัดพระธาตุเชิงชุมจังหวัดสกลนครพ.ศ. 2530 (1987)
99% Alพ.ศ. 2551 (2008)
เหรียญ 25 สตางค์16 มิลลิเมตร1.9 กรัมอะลูมีเนียมบรอนซ์วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารจังหวัดนครศรีธรรมราชพ.ศ. 2530 (1987)
เหรียญ 25 สตางค์ (แบบ 2)16 มิลลิเมตร1.9 กรัมทองแดง ชุบ เหล็กพ.ศ. 2551 (2008)
เหรียญ 50 สตางค์18 มิลลิเมตร2.4 กรัมอะลูมีเนียมบรอนซ์วัดพระธาตุดอยสุเทพจังหวัดเชียงใหม่พ.ศ. 2530 (1987)
เหรียญ 50 สตางค์ (แบบ 2)18 มิลลิเมตร2.4 กรัมทองแดง ชุบ เหล็กพ.ศ. 2551 (2008)
เหรียญ 1 บาท20 มิลลิเมตร3.4 กรัมคิวโปรนิกเกิลวัดพระศรีรัตนศาสดารามกรุงเทพมหานครพ.ศ. 2529 (1986)
3 กรัมนิกเกิล ชุบ เหล็กพ.ศ. 2551 (2008)
เหรียญ 2 บาท21.75 มิลลิเมตร4.4 กรัมนิกเกิล ชุบ เหล็กคาร์บอนต่ำวัดสระเกศราชวรมหาวิหารกรุงเทพมหานครพ.ศ. 2548 (2005)
21.75 มิลลิเมตร4 กรัมอะลูมีเนียมบรอนซ์พ.ศ. 2551 (2008)
เหรียญ 5 บาท24 มิลลิเมตร7.5 กรัมคิวโปรนิกเกิล หุ้ม ทองแดงวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารกรุงเทพมหานครพ.ศ. 2531 (1988)
6 กรัมพ.ศ. 2551 (2008)
เหรียญ 10 บาท26 มิลลิเมตร8.5 กรัมวงแหวน: คิวโปรนิกเกิล
ตรงกลาง: อะลูมีเนียมบรอนซ์
วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร กรุงเทพมหานครพ.ศ. 2531 (1988)
เหรียญ 10 บาท
(แบบ 2)
26 มิลลิเมตรพ.ศ. 2551 (2008)

ธนบัตร[แก้]

ไฟล์:Baht.jpg
ธนบัตรไทยแบบต่างๆ
สำหรับบทความหลักในหมวดหมู่นี้ ดู ธนบัตรไทย
นับ แต่เริ่มนำธนบัตรออกใช้เมื่อพุทธศักราช 2445 จนถึงปัจจุบัน ประเทศไทยได้นำธนบัตรออกใช้รวมทั้งสิ้น 16 แบบ ซึ่งแบ่งเป็นธนบัตรก่อนจัดตั้งโรงพิมพ์ธนบัตร ธนาคารแห่งประเทศไทย ได้แก่ ธนบัตรแบบ 1-10 รวมทั้งธนบัตรแบบพิเศษ และธนบัตรที่ผลิตจากโรงพิมพ์ธนบัตร ธนาคารแห่งประเทศไทย ได้แก่ ธนบัตรแบบ 11-16
ธนบัตร ที่ใช้ในประเทศไทยในปัจจุบันมีหลายชนิด แต่หลายชนิดเป็นธนบัตรที่ระลึกที่มีจำนวนจำกัด และไม่ถูกใช้ในการหมุนเวียนทั่วไป เช่น ธนบัตรที่ระลึกมูลค่า 60 บาท เป็นต้น ส่วนธนบัตรที่ถูกใช้หมุนเวียนทั่วไป และยังมีการผลิตอยู่อย่างต่อเนื่องในปัจจุบัน มี 5 ชนิด ได้แก่ ธนบัตร 20, 50, 100, 500 และ 1000 บาท
ธนบัตรแบบ 15 [2]
ภาพประธานชนิดราคาขนาดสีคำอธิบายวันประกาศออกใช้วันจ่ายแลก
ด้านหน้าด้านหลังภาพด้านหน้าภาพด้านหลัง
20baht-front.jpg
20baht-back.jpg
ธนบัตร 20 บาท138 × 72 มม.เขียว​ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเครื่องแบบจอมทัพพระบรมฉายาสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ภาพพระราชกรณียกิจเมื่อครั้งเสด็จพระราชดำเนินที่สำเพ็ง และภาพสะพานพระราม 812 กุมภาพันธ์ 25463 มีนาคม 2546
ธนบัตรไทย 50 บาท แบบที่ 15.jpg
ธนบัตรไทย 50 บาท แบบที่ 15(หลัง).jpg
ธนบัตร 50 บาท144 × 72 มม.ฟ้าพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ภาพลูกโลกดาว กล้องโทรทรรศน์ ​และภาพพระปฐมเจดีย์19 มีนาคม 25471 ตุลาคม 2547
100Bahtfr.jpg
100Bahtbk.jpg
ธนบัตร 100 บาท150 × 72 มม.แดงพระบรมฉายาสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเครื่องแบบเต็มยศทหารเรือ และภาพพระราชกรณียกิจเกี่ยวกับการเลิกทาส5 กันยายน 254821 ตุลาคม 2548
ภาพด้านหน้าธนบัตรราคา 500 บาท แบบที่ 15.jpg
ภาพด้านหลังธนบัตรราคา 500 บาท แบบที่ 15.jpg
ธนบัตร 500 บาท156 × 72 มม.ม่วงพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ ลานพลับพลามหาเจษฎาบดินทร์ ภาพโลหะปราสาท วัดราชนัดดารามวรวิหาร และภาพเรือสำเภา24 กรกฎาคม 25441 สิงหาคม 2544
1000bahtfr.jpg
1000bahtbk.jpg
ธนบัตร 1000 บาท162 × 72 มม.น้ำตาลพระบรมฉายาสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ภาพเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ และภาพเกษตรกรรมตามแนวพระราชดำริทฤษฎีใหม่29 กรกฎาคม 254825 พฤศจิกายน 2548
ธนบัตรแบบ 16 **[2]
ภาพประธานชนิดราคาขนาดสีคำอธิบายวันประกาศออกใช้วันจ่ายแลก
ด้านหน้าด้านหลังภาพด้านหน้าภาพด้านหลัง
20bahtfrxnew.jpg
20bahtbkxnew.jpg
ธนบัตร 20 บาท138 × 72 มม.เขียวพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ในฉลองพระองค์ครุยมหาจักรีบรมราชวงศ์พระบรมราชานุสาวรีย์ พ่อขุนรามคำแหงมหาราช ประทับบนพระแท่นมนังศิลาบาตร ภาพการประดิษฐ์อักษรไทย ภาพศิลาจารึกหลักที่ 1 จารึกพ่อขุนรามคำแหง ภาพลายสือไทย ภาพทรงรับเรื่องราวร้องทุกข์ของราษฎร ภาพกระดิ่ง และภาพเครื่องสังคโลก2 พฤศจิกายน 25551 เมษายน 2556 [3]
ธนบัตรไทย 50 บาท แบบที่ 16.jpg
ธนบัตรไทย 50 บาท แบบที่ 16(หลัง).jpg
ธนบัตร 50 บาท144 × 72 มม.ฟ้า​ พระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงหลั่งทักษิโณทก ภาพจิตรกรรมฝาผนัง ทรงพระแสงดาบ นำทหารเข้าตีค่ายพม่า พระบรมราชานุสาวรีย์ ณ อนุสรณ์ดอนเจดีย์ และพระเจดีย์ชัยมงคล วัดใหญ่ชัยมงคล24 มิถุนายน 255418 มกราคม 2555 [4]
New 100 front.jpg
New 100 rear.jpg
ธนบัตร 100 บาท150 x 72 มม.แดง​พระบรมรูป​สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ภาพทรงเกลี้ยกล่อมให้ประชาชนรวมกำลังกันต่อสู่กู้อิสรภาพ ภาพท้องพระโรงพระราชวังกรุงธนบุรี ภาพพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินทรงม้าพระที่นั่งออกศึก และภาพป้อมวิไชยประสิทธิ์27 ธันวาคม 255726 กุมภาพันธ์ 2558 [5]
ภาพด้านหน้าธนบัตรราคา 500 บาท.jpg
ภาพด้านหลังธนบัตรราคา 500 บาท.jpg
ธนบัตร 500 บาท156 x 72 มม.ม่วงพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ภาพวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ภาพป้อมพระสุเมรุ27 ธันวาคม 255612 พฤษภาคม 2557 [6]
1000bahtfr 2015 1.jpg
1000bahtbk 2015 2.jpg
ธนบัตร 1000 บาท162 x 72 มม.น้ำตาล​พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระปิยมหาราช ภาพพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงม้าพระที่นั่ง ภาพพระที่นั่งอนันตสมาคม และภาพการเลิกทาส17 สิงหาคม 255821 สิงหาคม 2558[7]
ธนบัตรแบบ 17 [8]
ภาพประธานชนิดราคาขนาดสีคำอธิบายวันประกาศออกใช้วันจ่ายแลก
ด้านหน้าด้านหลังภาพด้านหน้าภาพด้านหลัง
20THB-17th-Banknote-Front.jpg
20THB-17th-Banknote-Back.jpg
ธนบัตร 20 บาท138 × 72 มม.เขียว​ พระสาทิสลักษณ์ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ในฉลองพระองค์เครื่องแบบทหารอากาศพระบรมสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกและ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย6 เมษายน 25616 เมษายน 2561
50THB-17th-Banknote-Front.jpg
50THB-17th-Banknote-Back.jpg
ธนบัตร 50 บาท144 × 72 มม.ฟ้าพระบรมสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว6 เมษายน 25616 เมษายน 2561
100THB-17th-Banknote-Front.jpg
100THB-17th-Banknote-Back.jpg
ธนบัตร 100 บาท150 × 72 มม.แดงพระบรมสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว6 เมษายน 25616 เมษายน 2561
500THB-17th-Banknote-Front.jpg
500THB-17th-Banknote-Back.jpg
ธนบัตร 500 บาท156 × 72 มม.ม่วงพระบรมสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล28 กรกฎาคม 256128 กรกฎาคม 2561
1000THB-17th-Banknote-Front.jpg
1000THB-17th-Banknote-Back.jpg
ธนบัตร 1000 บาท162 × 72 มม.น้ำตาลพระบรมสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และพระสาทิสลักษณ์ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร28 กรกฎาคม 256128 กรกฎาคม 2561

th.wikipedia.org

No comments:

Post a Comment

เมืองไทยใครๆก็อยากเที่ยว

ประเทศไทย  มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า  ราชอาณาจักรไทย  เป็น รัฐชาติ อันตั้งอยู่ในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้  เดิมมีชื่อว่า "...